บทความ

สมาชิกในห้องเรียนไฟฟ้าA

                                    รายชื่อสมาชิกในชั้นเรียน รหัสนักศึกษา                                    รายชื่อ                                                      ชื่อเล่น                                                                               นาย    ธภัทร     ชัยชูโชค                                อาจารย์ปาล์ม 646715001                                 นาย   สุรพิชญ์ ศรีสุวรรณ                                           ชาย 646715002                                 นาย สัณหวัช  เพ็ชรสวัสดิ์                                       โจ้ 646715003                                 นายเฉลิมชนม์ แซ่เฮง                                               พีช 646715004                                 นาย อาดีนัน โสธามาต                                             ดีนจอ 646715005                                นาย  นัฐกิตย์ อ่อนยัง                                        ปิน 646715006                                 นาย  ปฏิพัทธ์ หนูน้อย                                      อิ้ง 6467150
รูปภาพ
  หลักการทำงานและการวิเคราะห์กลไกของสายพานลำเลียง สายพานลำเลียงประยุกต์ช่วง สายพานลำเลียงประกอบด้วยเฟรมตรงกลางและลูกกลิ้งลำเลียงอุปกรณ์ tensioning และใช้สายพานลำเลียงเป็นฉุดและสมาชิกแบริ่งในการขนส่งต่อเนื่องกระจายวัสดุหรือบทความเสร็จแล้ว สายพานลำเลียงเป็นเครื่องขับเคลื่อนแรงเสียดทานที่ขนส่งวัสดุในลักษณะต่อเนื่อง มันสามารถฟอร์มกระบวนการจากให้อาหารจุดไปยังจุดสุดท้ายปฏิบัติบนบรรทัดลำเลียงลำเลียงวัสดุ สายพานลำเลียงสามารถดำเนินการขนส่งของเสียวัสดุตลอดจนการขนส่งของสินค้าแต่ละรายการ นอกเหนือจากการจัดการวัสดุบริสุทธิ์ มันยังสามารถใช้ร่วมกับความต้องการของกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในฟอร์มบรรทัดไหลเป็นจังหวะ ดังนั้น สายพานลำเลียงถูกใช้อย่างกว้างขวางในกิจการอุตสาหกรรมที่ทันสมัย สายพานลำเลียงใช้สำหรับแนวนอน หรือแนวโน้มการขนส่งในใต้ดินถนนเหมือง เหมืองดินระบบขนส่ง เปิดบ่อเหมือง และพืชมุ่งเน้น โครงสร้างสายพานลำเลียง    สายพานลำเลียงประกอบด้วยอุปกรณ์สำหรับขับรถ เบรก การปรับความตึง กลับ โหลด ขน และทำความสะอาด ลูกกลิ้ง ลูกกลิ้ง และสายพานลำเลียง สายพานลำเลียง: นิยมใช้เป็นสายพานยางและเข็

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

รูปภาพ
  หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม   1.หุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม          Cobot โคบอท  หรือ  Collaborative Robots  คือหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรูปร่างเป็นแขนกลที่ทำงานหยิบจับจัดเรียงชิ้นส่วนต่างๆและหน้าที่ผลิตชิ้นส่วนต่างๆที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียด ซึ่ง  Cobot  จะมีระบบเซ็นเซอร์ที่ล้ำสมัย สามารถตรวจวัดและผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียดสูงได้หลายๆชิ้นตามสเกลที่กำหนดไว้โดยปราศจากข้อผิดพลาด โดยโคบอทมีความแตกต่างจากหุ่นยนต์หรือโรบอททั่วไปคือโคบอทมีน้ำหนักเบาและขนาดไม่เทอะทะ สามารถเคลื่อนย้ายไปยังจุดต่างๆในโรงงานได้อย่างสะดวกสบาย โดยโคบอทถูกใช้อย่างมากในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงและอันตรายต่อมนุษย์ เช่น เคมีภัณฑ์ ยา อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ 2.หุ่นยนต์ประกอบชิ้นงานหรือชิ้นส่วนรถยนต์ Automotive Robotics  หุ่นยนต์อุตสาหกรรม  Articulated Arm  ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน ( Revolute)  รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน ดังรูป ตัวอย่างการใช้งานในการผลิตรถยนต์ งานเชื่อม ส่วนนี้จะใช้หุ่นยนต

เครื่องจักร NE CNC และ DNC

รูปภาพ
  เครื่องจักร NC CNC และ DNC -  มีนาคม 02, 2565   เครื่องจักร NC CNC และ DNC เครื่องจักร NC   NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว https://www.youtube.com/watch?v=vU3pqViTX9w เครื่องจักร CNC                 CNC  เป็นคำย่อมาจากคำว่า  Computer Numerical Control  หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม  NC  ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล   ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง แ

บทความทางด้านเทคโนโลยีสื่อสาร

รูปภาพ
  บทความทางด้านเทคโนโลยีสื่อสาร เทคโนโลยีสื่อสาร         ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีและการสื่อสาร  เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูงสั้นๆ บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทำให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)  เทคโนโลยีในการสื่อสารยุคใหม่ 4 กลุ่ม ได้แก่           1. เทคโนโลยีการแพร่ภาพและเสียง  (Broadcast and Motion Picture Technology)        2. เทคโนโลยีการพิมพ์  (Print and Publishing Technology)        3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  (Computer Technology)         4. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม  (Telecommunication Technology)       ประโยชน์

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
ประวัติส่วนตัว ชื่อ : อาดีนัน โสธามาต รหัสนักศึกษา : 646715004 ชื่อเล่น : ดีน  เกิดวันที่ : 19 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2543 ที่อยู่ : 175 หมู่ 11 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล 91110 เบอร์โทร : 0950973511 ไอดีใลน์:deenza11 ใอจี:deen69 อาหารที่ชอบ : ข้าวเนื้อกระเทียม ทีมฟุตบอลที่ชอบ : เชลซี สถานะ : โสด พี่น้องร่วมบิดามารดา : 3 คน กีฬาที่ชอบ : ฟุตบอล กิจกรรมยามว่าง :เล่นเกมส์ นักแสดงที่ชอบ:แจ๊ส ชวนชื่น จบมาจาก: วิทยาลัยการอาชีพละงู คติประจำใจ : ฝันไห้ไกล ไปไห้ถึง